Page 9 - มาตรฐานบริการ การให้การปรึกษาวัยรุ่น สำหรับบุคลากรสาธารณสุข
P. 9
บทที่ 2
แนวทางการใช้ มาตรฐานบริการการให้การปรึกษาวัยรุ่น ส าหรับบุคลากรสาธารณสุข
2.1. กรอบแนวคิดในการจัดท ามาตรฐาน
การให้การปรึกษาส าหรับวัยรุ่น เป็นองค์ประกอบส าคัญที่ช่วยตอบสนองความต้องการการดูแล
ช่วยเหลือทางด้านอารมณ์จิตใจ และการแก้ปัญหาชีวิตวัยรุ่นเป็นรายบุคคล รวมไปถึงการให้การปรึกษา
ครอบครัวและผู้ปกครองของวัยรุ่นซึ่งเป็นปัจจัยส าคัญส าหรับวัยรุ่น นอกจากนี้ สถานบริการสาธารณสุขควร
พิจารณาการจัดบริการการให้การปรึกษาวัยรุ่นผ่านทางโทรศัพท์และสื่อสังคมออนไลน์ (social media) ส าหรับ
วัยรุ่นที่ต้องการปรึกษาเบื้องต้น วัยรุ่นที่ยังไม่พร้อมเข้ามาที่หน่วยบริการ หรือวัยรุ่นที่มีปัญหาเร่งด่วน เพื่อเพิ่ม
ช่องทางในการเข้าถึงบริการที่เป็นมิตร และสามารถให้บริการได้ทันท่วงทีตามลักษณะความต้องการต่อบริการ
สุขภาพของวัยรุ่น
ดังนั้น มาตรฐานบริการการให้การปรึกษาวัยรุ่น ส าหรับบุคลากรสาธารณสุข เล่มนี้ จึงประกอบไปด้วย
มาตรฐานการจัดบริการให้การปรึกษา 3 รูปแบบ ได้แก่
1. การให้การปรึกษาวัยรุ่น
2. การให้การปรึกษาครอบครัววัยรุ่น
3. การให้การปรึกษาทางโทรศัพท์และสื่อสังคมออนไลน์ (social media)
บทที่ 2
โดยมีองค์ประกอบหลักที่ต้องพิจารณาในการจัดบริการอย่างมีมาตรฐาน แบ่งออกเป็น 3 มิติ ได้แก่
แนวทำงกำรใช้ มำตรฐำนบริกำรกำรให้กำรปรึกษำวัยรุ่น ส�ำหรับบุคลำกรสำธำรณสุข
ความพร้อม (input) กระบวนการให้การปรึกษา (process) และผลการให้การปรึกษา (output) ดังแผนภาพที่1
แผนภาพที่ 1 กรอบแนวคิด มาตรฐานบริการการให้การปรึกษาวัยรุ่น
แผนภาพที่ 1 กรอบแนวคิด มาตรฐานบริการการให้การปรึกษาวัยรุ่น
รูปแบบบริการการให้การ องค์ประกอบการจัดบริการ
ปรึกษา ส าหรับวัยรุ่น
การให้การปรึกษาวัยรุ่น Input บุคลากร สถานที่ เอกสาร
ระบบบริการ ฯลฯ
การให้การปรึกษาครอบครัว กระบวนการให้การปรึกษา
วัยรุ่น Process ตามมาตรฐาน
การให้การปรึกษาวัยรุ่นทาง ประโยชน์ที่วัยรุ่นได้รับ
โทรศัพท์/สื่อสังคมออนไลน์ Output ความพึงพอใจ การส่งต่อ
2.2. หลักเกณฑ์การประเมินมาตรฐานบริการการให้การปรึกษาวัยรุ่น
เกณฑ์มาตรฐานแต่ละข้อ สามารถแบ่งระดับความส าเร็จออกเป็น 5 ระดับ เพื่อเป็นแนวทางในการ
2.2. หลักเกณฑ์กำรประเมินมำตรฐำนบริกำรกำรให้กำรปรึกษำวัยรุ่น
พัฒนาคุณภาพและประเมินมาตรฐานบริการการให้การปรึกษา ดังนี้
เกณฑ์มาตรฐานแต่ละข้อ สามารถแบ่งระดับความสำาเร็จออกเป็น 5 ระดับ เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนา
คุณภาพและประเมินมาตรฐานบริการการให้การปรึกษา ดังนี้
7
(1) ระดับต้น หมายถึง มีการจัดบริการการให้การปรึกษาวัยรุ่นในระยะเริ่มต้น
(2) ระดับพอใช้ หมายถึง มีการจัดบริการให้การปรึกษาวัยรุ่น และมีองค์ประกอบที่สำาคัญ
ครบถ้วน แต่ยังไม่เกิดผลลัพธ์ที่ชัดเจน
(3) ระดับดี หมายถึง มีบริการให้การปรึกษาวัยรุ่นที่มีคุณภาพ เกิดผลลัพธ์ในประเด็น
ที่สำาคัญ และมีการทบทวนประเมินตนเองอย่างต่อเนื่อง
(4) ระดับดีมาก หมายถึง มีการพัฒนาและขยายงานการให้การปรึกษาวัยรุ่นให้เกิดผลลัพธ์
ในเชิงการแก้ปัญหาของวัยรุ่นที่มารับบริการ และพัฒนางาน
อย่างต่อเนื่อง
(5) ระดับดีเลิศ หมายถึง มีการประเมินผลการจัดบริการ พัฒนาเป็นผลงานวิชาการด้าน
การให้การปรึกษาวัยรุ่น สามารถเป็นต้นแบบบริการการให้
การปรึกษาวัยรุ่น และเป็นที่ปรึกษาของหน่วยงานอื่นได้
4 มาตรฐานบริการการให้การปรึกษาวัยรุ่น สำาหรับบุคลากรสาธารณสุข